K-Means Clustering

จาก Morange Wiki
รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:55, 15 สิงหาคม 2559 โดย Patcharapun (คุย | มีส่วนร่วม) (success K-means Clustering)
(ต่าง) ←รุ่นแก้ไขก่อนหน้า | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นแก้ไขถัดไป→ (ต่าง)

Understanding K-Means Clustering

  • เพื่อเข้าใจการจัดกลุ่มแบบ K-Means Clustering

Theory

  • โดยทั่วไปจะใช้เรื่องในเข้ามาจัดการเป็นอย่างปกมาก

T-shirt size problem

  • โดยการจะทำเสื้อยืดนั้น บริษัทจะต้องผลิตรูปแบบและขนาดที่แตกต่างกันเพื่อตอบสนองผู้บริโภคโดยจะทำให้เหมาะสมกับผู้คนทุกๆ ไซต์โดยโดยจะยกตัวอย่างกราฟด้านล่างนี้
Selection 105.png


  • และบริษัทนั้นไม่สามารถสร้างเสื้อยืดที่มีขนาดทุกๆขนาดได้ แต่จะแบ่งออกเป็น คนตัวเล็ก คนตัวขนาดกลาง คนตัวใหญ่ และจะสามารถผลิตแค่ 3 Size เพื่อให้พอดีทุกคน ในการจัดกลุ่มแบบนี้สามารถทำผ่าน K-Means Clustering ได้โดยวิธีที่ดีที่สุดคือ 3 Size และหากไม่เป็นเช่นนั้น สามารถแบ่งกลุ่มเพิ่มได้อีก อาจจะ 5 size ดูที่รูปภาพ
Selection 106.png

หลักการทำงาน

  • ขั้นตอนวิธี (algorithm) ของกระบวนการที่เกิดซ้ำแล้วซ้ำอีก นั้นจะสามารถอธิบายโดย step-by-step ในการช่วยงานด้าน image โดยวิิธีคือ
Selection 107.png

ขั้นตอนที่ 1

  • Algorithm จะสุ่มเลือกสอง centroids คือ C1 และ C2

ขั้นตอนที่ 2

  • จะคำนวณระยะห่างจากจุดแต่ละจุดของ centroids หากข้อมูลที่ทดสอบนั้น ใกล้ชิด C1 แล้วข้อมูลจะใส่ชื่อกำกับว่า '0' หากข้อมูลที่ทดสอบ ใกล้กับ C2 จะใส่ชื่อกำกับว่า '1' หากมี Centroid มากขึ้นก็จะใส่ชื่อเพิ่มลำดับไปเรื่อยๆ
  • ในกรณณีที่จะใส่ให้กับ '0' นั้นเป็นสีแดง และใส่สีให้กับ '1' เป็นสีฟ้า
Selection 108.png

ขั้นตอนที่ 3

  • ต่อไปจะเป็นการคำนวณค่าเฉลี่ยของจุดสีฟ้าและจุดสีแดงที่แยกจากกัน โดย new centroid = C1 และ C2
    • และนำข้อมูลใหม่นี้ไปทำเหมือนกันกับ ขั้นตอนที่สอง
Selection 109.png

Final Step

  • ใน Step นี้ เมื่อทำ ขั้นตอนที่ 2-3 เสร็จแล้วจะวนทำซ้ำจนกว่าทั้ง centroids จะแปรสภาพไปยังจุดคงที่ * โดยจุดเหล่านั้นเป็นผลรวมของระยะทางระหว่างข้อมูลการทดสอบและ centroids ที่สอดคล้องกันขอพวกมันนั้น จะมีขั้นต่ำเท่าไหร่ หรือ เพียงแค่ผลรวมของระยะทางเท่านั้น โดย

C1↔Red_Points and C2↔Blue_Points คือค่าต่ำสุด ดังสูตร

Selection 110.png
    • โดยผลลัพธ์ คือ
Selection 111.png