ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแปลงพจนานุกรม LEXITRON เป็นออนโทโลยี"

จาก Morange Wiki
 
แถว 11: แถว 11:
 
# เพิ่มความเชื่อมโยงทางภาษา เช่น ความหมายต่างๆในเชิงโครงสร้าง
 
# เพิ่มความเชื่อมโยงทางภาษา เช่น ความหมายต่างๆในเชิงโครงสร้าง
 
# เพิ่มความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและข้อเท็จจริง (Axiom) ต่างๆ ในออนโทโลยี
 
# เพิ่มความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและข้อเท็จจริง (Axiom) ต่างๆ ในออนโทโลยี
 +
 +
== พจนานุกรมอื่นๆ ==
 +
* [http://kdictthai.sourceforge.net KDictThai]
 +
* [http://project-ile.net/lulu/leklekdict/ LekLekDict]
  
 
== อ้างอิง ==
 
== อ้างอิง ==
 
<references/>
 
<references/>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:05, 10 กรกฎาคม 2557

LEXITRON[1] เป็นพจนานุกรมไทย-อังกฤษ / อังกฤษ-ไทย ที่ได้รับความนิยม เนื่องจากเป็นพจนานุกรมที่มีสัญญาอนุญาตแบบ BSD-like ที่สามารถนำข้อมูลพจนานุกรมไปใช้งานได้ฟรี

การแปลงพจนานุกรมหรือ glossary เป็น ontology มีกระบวนการด้วยกัน การแปลงข้อมูลที่เป็นโครงสร้างอยู่แล้ว ไม่เป็นเรื่องยากมากนัก โดยจะขึ้นกับว่า เราจะจับคู่โครงสร้างอย่างไร


ขั้นตอนการแปลงพจนานุกรมเป็นออนโทโลยี

อ้างอิงขั้นตอนการแปลงมีดังนี้ [2]

  1. วิเคราะห์โครงสร้างของเนื้อหา ซึ่งโดยปกติพจนานุกรมจะมีโครงสร้างอยู่แล้ว
  2. เพิ่มความสัมพันธ์เฉพาะ ขั้นตอนนี้จะได้ข้อมูลโครงสร้าง ในลักษณะ อนุกรมวิธาน ออกมา
  3. เพิ่มความเชื่อมโยงทางภาษา เช่น ความหมายต่างๆในเชิงโครงสร้าง
  4. เพิ่มความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและข้อเท็จจริง (Axiom) ต่างๆ ในออนโทโลยี

พจนานุกรมอื่นๆ

อ้างอิง

  1. http://lexitron.nectec.or.th
  2. J. R. Hilera, C. Pagés, J. J. Martínez, J. A. Gutiérrez, and L. de-Marcos. An Evolutive Process to Convert Glossaries into Ontologies. http://ejournals.bc.edu/ojs/index.php/ital/article/viewFile/3130/2745. Accessed on July 19, 2014