ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การพัฒนาแอพพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่"
จาก Morange Wiki
(→เครืองมือในการพัฒนา) |
|||
แถว 5: | แถว 5: | ||
== เครืองมือในการพัฒนา == | == เครืองมือในการพัฒนา == | ||
− | # [http://developer.android.com/sdk | + | # [[Has tool::Android SDK]] [http://developer.android.com/sdk] |
− | # [https://developer.apple.com/devcenter/ios/ | + | # [[Has tool::iOS SDK]] [https://developer.apple.com/devcenter/ios/] |
− | # [http://phonegap.com | + | # [[ Has tool::PhoneGap / Has tool::Cordova]] [http://phonegap.com] |
− | # [http://www.appcelerator.com/titanium/titanium-sdk/ | + | # [[Has tool::Titanium SDK]] [http://www.appcelerator.com/titanium/titanium-sdk/] |
== ประสบการณ์ผู้ใช้ (UX) == | == ประสบการณ์ผู้ใช้ (UX) == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:18, 30 มิถุนายน 2557
แอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ในปัจจุบัน โดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือและแท็บเล็ต แบ่งได้หลายแบบ เช่น แบ่งตามรูปแบบการพัฒนา อาจจะแบ่งได้เป็น
- แอปพลิเคชันแบบพื้นเมือง ( Native Application ) คือใช้เฟรมเวิร์กหรือเครื่องมือเฉพาะของแพลตฟอร์ม รวมทั้งภาษาเฉพาะในการพัฒนา มีข้อดีคือ ใช้คุณสมบัติของแพลตฟอร์มได้เต็มที่ และมีประสิทธิภาพสูง
- แอปพลิเคชันแบบเว็บ (Mobile Web) คือเขียนเว็บโดยใช้ HTML/CSS JS เพื่อใช้เป็นส่วนเชื่อมต่อ มีข้อดีคือ เขียนครั้งเดียวสามารถแสดงผลได้ทุกที่ๆรองรับการเปิดเว็บ แต่ข้อเสียคือช้ากว่ามากเมื่อเทียบกับแอปพลิเคชันแบบพื้นเมือง
- แอปพลิเคชันแบบลูกผสม ( Hybrid Application ) คือ เป็นการผสมผสาน ระหว่างแบบเว็บและพื้นเมือง คือเขียนแอปพลิเคชันโดยใช้ HTML/CS/JS แต่มีส่วนชั้นที่เชื่อมต่อกับเฟรมเวิร์กพื้นเมือง ซึ่งช่วยให้สามารถดึงคุณสมบัติที่มีของแพลตฟอร์มมาได้ ข้อดีคือพัฒนาได้ไวขึ้นจากเดิม แต่ข้อเสียคือยังช้ากว่าแบบเขียนพื้นเมืองอยู่พอสมควร
เครืองมือในการพัฒนา
ประสบการณ์ผู้ใช้ (UX)
การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้