ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Gitlab"
Witawatd (คุย | มีส่วนร่วม) |
Witawatd (คุย | มีส่วนร่วม) (→การ pull [fetch + merge] เข้าไปใน gitlab) |
||
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
Gitlab<ref>https://about.gitlab.com/gitlab-ce</ref> เป็นเซิร์ฟเวอร์สำหรับจัดการ git โดยมีคุณสมบัติการใช้งานคล้ายกับ github โดยเป็น open source ที่เป็น community edition และแบบ support ที่เป็น Enterprise edition โดยที่ Community สามาระสร้างได้ 10,000 repository | Gitlab<ref>https://about.gitlab.com/gitlab-ce</ref> เป็นเซิร์ฟเวอร์สำหรับจัดการ git โดยมีคุณสมบัติการใช้งานคล้ายกับ github โดยเป็น open source ที่เป็น community edition และแบบ support ที่เป็น Enterprise edition โดยที่ Community สามาระสร้างได้ 10,000 repository | ||
[[ความสามารถของ GitLab]] | [[ความสามารถของ GitLab]] | ||
+ | ==เกร็ดเล็กก่อนเริ่ม เรียน git== | ||
+ | [https://blog.nextzy.me/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-git-%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%87%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%86%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%B0-427398e62f82 คลิกเลย] | ||
แถว 243: | แถว 245: | ||
</pre> | </pre> | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
==วิธีใช้งาน Gitlab เบื้องต้น== | ==วิธีใช้งาน Gitlab เบื้องต้น== | ||
+ | ===การสร้าง Project=== | ||
1. ทำการสมัครสมาชิก เพื่อเข้าใช้งาน<br> | 1. ทำการสมัครสมาชิก เพื่อเข้าใช้งาน<br> | ||
2. เมื่อสมัครสมาชิกเสร็จแล้ว ก็ทำการล๊อคอินเข้าใช้งาน แล้วจะเจอหน้าแรกของการใช้งาน<br> | 2. เมื่อสมัครสมาชิกเสร็จแล้ว ก็ทำการล๊อคอินเข้าใช้งาน แล้วจะเจอหน้าแรกของการใช้งาน<br> | ||
แถว 267: | แถว 257: | ||
</pre> | </pre> | ||
− | 5. | + | 5. สร้าง Repository ใหม่ |
<br> | <br> | ||
<pre> | <pre> | ||
แถว 281: | แถว 271: | ||
$ git add . | $ git add . | ||
$ git commit -m "ใส่ข้อความแจ้งเตื่อน" | $ git commit -m "ใส่ข้อความแจ้งเตื่อน" | ||
− | $ git push -u origin master | + | $ git push -u origin <branch name> |
+ | </pre> | ||
+ | ===การ clone Repository มาใช้งาน === | ||
+ | สมมุติว่าเราเปลียนคอมเครื่องอื่นหรื้อเราทำงานร่วมกับคนอื่น เราสามารถทำการ clone Repository มาใช้งานได้<br> | ||
+ | มันจะคล้ายการ add Repository นะครับ | ||
+ | <pre> | ||
+ | $ cd <ตำแหน่ง folder ที่ต้องการจะเก็บไว้> | ||
+ | $ git clone https://witawatd@git.morange.co.th/witawatd/myproject_coe.git | ||
+ | </pre> | ||
+ | ===การ Push เข้าไปยัง gitlab === | ||
+ | <pre> | ||
+ | $ git add <name file> | ||
+ | $ git commit -m "ข้อความ" | ||
+ | $ git push origin <branch name> | ||
+ | </pre> | ||
+ | ===การสร้าง branch แล้ว push ไปยัง gitlab === | ||
+ | <pre> | ||
+ | $ git branch <branch Name> | ||
+ | $ git checkout <branch Name> | ||
+ | $ git push <ชื่อ remote> <ชื่อ branch> | ||
+ | แล้วใส่รหัสผ่าน | ||
+ | </pre> | ||
+ | ===การ pull [fetch + merge] เข้าไปใน gitlab === | ||
+ | ก่อนทำการ pull ต้องทำการ commit เข้าไปยัง branch ก่อนแล้ว Push เข้าไปยัง remote จากนั้นทำการ checkout ออกไปยัง master ตามด้วยคำสั่งนี้เลย | ||
+ | <pre> | ||
+ | $ git pull <ชื่อ remote> <ชื่อ branch> | ||
+ | แล้วใส่รหัสผ่าน | ||
</pre> | </pre> | ||
− | + | คำสั่งนี้เป็นการเช็คว่า ใน Repository มีโค้ดตรงกันกับ remote หรือไม่ | |
− | |||
− | |||
− | |||
== อ้างอิง == | == อ้างอิง == | ||
<references/> | <references/> | ||
+ | 5. https://medium.com/@pakin/git-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3-git-is-your-friend-c609c5f8efea |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 02:30, 22 เมษายน 2562
Gitlab[1] เป็นเซิร์ฟเวอร์สำหรับจัดการ git โดยมีคุณสมบัติการใช้งานคล้ายกับ github โดยเป็น open source ที่เป็น community edition และแบบ support ที่เป็น Enterprise edition โดยที่ Community สามาระสร้างได้ 10,000 repository ความสามารถของ GitLab
เนื้อหา
เกร็ดเล็กก่อนเริ่ม เรียน git
การติดตั้ง
- ไปที่ https://about.gitlab.com/gitlab-ce และเลือกดาวน์โหลด https://about.gitlab.com/downloads/archives/ โดยที่แพ็กเกจประกอบด้วย postgres และ nginx แบบ embed ในตัว
- เลือก Ubuntu 14.04 และดาวน์โหลดสำหรับ Ubuntu 14.04 LTS 64bit และติดตั้ง
wget https://downloads-packages.s3.amazonaws.com/ubuntu-14.04/gitlab_7.3.2-omnibus-1_amd64.deb [sudo] password for seksan: Selecting previously unselected package gitlab. (Reading database ... 122590 files and directories currently installed.) Preparing to unpack gitlab_7.3.2-omnibus-1_amd64.deb ... Unpacking gitlab (7.3.2-omnibus-1) ... Setting up gitlab (7.3.2-omnibus-1) ... Thank you for installing GitLab! You can configure GitLab for your system by running the following command: sudo gitlab-ctl reconfigure
- ตั้งค่าการใช้งาน ระบบจะทำการตั้งค่าฐานข้อมูล (Postgres) และ นำเข้าฐานข้อมูลพื้นฐาน
sudo gitlab-ctl reconfigure
- แก้ไข hostname
sudo -e /etc/gitlab/gitlab.rb
- (option) แก้ไข nginx /var/opt/gitlab/nginx/conf/gitlab-http.conf เพื่อทำ proxy
- username และ password เริ่มต้น
Username: root Password: 5iveL!fe
การอัปเกรด
เนื่องจากเป็นการติดตั้งจาก source เราจะอัปเกรดโดยขั้นตอนตาม [2]
- Backup
cd /home/git/gitlab sudo -u git -H bundle exec rake gitlab:backup:create RAILS_ENV=production
- ปิด server
sudo service gitlab stop
- ดึง code ล่าสุดจาก stable branch
cd /home/git/gitlab sudo -u git -H git fetch --all sudo -u git -H git checkout -- Gemfile.lock db/schema.rb sudo -u git -H git checkout LATEST_TAG
LATEST_TAG เช่น v7.14.1
- ปรุงปรุง gitlab-shell ตามรุ่นที่ต้องใช้
cd /home/git/gitlab-shell sudo -u git -H git fetch sudo -u git -H git checkout v`cat /home/git/gitlab/GITLAB_SHELL_VERSION`
- ติดตั้งไลบรารี่และอัปเกรดฐานข้อมูล
cd /home/git/gitlab #PostgreSQL sudo -u git -H bundle install --without development test mysql --with postgres --deployment # MySQL sudo -u git -H bundle install --without development test postgres --with mysql --deployment sudo -u git -H bundle exec rake db:migrate RAILS_ENV=production sudo -u git -H bundle exec rake assets:clean RAILS_ENV=production sudo -u git -H bundle exec rake assets:precompile RAILS_ENV=production sudo -u git -H bundle exec rake cache:clear RAILS_ENV=production
- เริ่ม application
sudo service gitlab start sudo service nginx restart
- ตรวจสอบสถานะการติดตั้ง
sudo -u git -H bundle exec rake gitlab:env:info RAILS_ENV=production sudo -u git -H bundle exec rake gitlab:check RAILS_ENV=production
ถ้าทุกรายการเป็นสีเขียวหรือผ่านทั้งหมด ถือว่าการอัปเกรดเสร็จสมบูรณ์
การอัปเกรดจาก 7.x เป็นเวอร์ชัน 8.x
จาก [3] จะพบว่า ต้องติดตั้ง gitlab-git-http-server ซึ่งเป็นส่วนที่แยกด้าน authentication ออกจาก main process มีผลทำให้ ต้องตั้งค่าเพิ่ม
# ติดตั้ง go curl -O --progress https://storage.googleapis.com/golang/go1.5.1.linux-amd64.tar.gz echo '46eecd290d8803887dec718c691cc243f2175fe0 go1.5.1.linux-amd64.tar.gz' | shasum -c - && \ sudo tar -C /usr/local -xzf go1.5.1.linux-amd64.tar.gz sudo ln -sf /usr/local/go/bin/{go,godoc,gofmt} /usr/local/bin/ rm go1.5.1.linux-amd64.tar.gz
ติดตั้ง gitlab-git-http-server
cd /home/git sudo -u git -H git clone https://gitlab.com/gitlab-org/gitlab-git-http-server.git cd gitlab-git-http-server sudo -u git -H make
ในเวอร์ชันหลังๆ gitlab-http-server ได้เปลี่ยนชื่อเป็น gitlab-workhorse ติดตั้งโดย
cd /home/git sudo -u git -H git clone https://gitlab.com/gitlab-org/gitlab-workhorse.git cd gitlab-workhorse sudo -u git -H make
จากนั้น ตั้งค่า /etc/default/gitlab ใหม่
Copy this lib/support/init.d/gitlab.default.example file to # /etc/default/gitlab in order for it to apply to your system. # RAILS_ENV defines the type of installation that is running. # Normal values are "production", "test" and "development". RAILS_ENV="production" # app_user defines the user that GitLab is run as. # The default is "git". app_user="git" # app_root defines the folder in which gitlab and it's components are installed. # The default is "/home/$app_user/gitlab" app_root="/home/$app_user/gitlab" # pid_path defines a folder in which the gitlab and it's components place their pids. # This variable is also used below to define the relevant pids for the gitlab components. # The default is "$app_root/tmp/pids" pid_path="$app_root/tmp/pids" # socket_path defines the folder in which gitlab places the sockets #The default is "$app_root/tmp/sockets" socket_path="$app_root/tmp/sockets" # web_server_pid_path defines the path in which to create the pid file fo the web_server # The default is "$pid_path/unicorn.pid" web_server_pid_path="$pid_path/unicorn.pid" # sidekiq_pid_path defines the path in which to create the pid file for sidekiq # The default is "$pid_path/sidekiq.pid" sidekiq_pid_path="$pid_path/sidekiq.pid" gitlab_git_http_server_pid_path="$pid_path/gitlab-git-http-server.pid" # The -listenXxx settings determine where gitlab-git-http-server # listens for connections from NGINX. To listen on localhost:8181, write # '-listenNetwork tcp -listenAddr localhost:8181'. # The -authBackend setting tells gitlab-git-http-server where it can reach # Unicorn. gitlab_git_http_server_options="-listenUmask 0 -listenNetwork tcp -listenAddr 127.0.0.1:8181 -authBackend http://127.0.0.1:8888" gitlab_git_http_server_repo_root="/home/git/repositories" gitlab_git_http_server_log="$app_root/log/gitlab-git-http-server.log" # mail_room_enabled specifies whether mail_room, which is used to process incoming email, is enabled. # This is required for the Reply by email feature. # The default is "false" mail_room_enabled=false # mail_room_pid_path defines the path in which to create the pid file for mail_room # The default is "$pid_path/mail_room.pid" mail_room_pid_path="$pid_path/mail_room.pid" # shell_path defines the path of shell for "$app_user" in case you are using # shell other than "bash" # The default is "/bin/bash" shell_path="/bin/bash"
โดยส่วนที่สำคัญคือ gitlab_git_http_server_options="-listenUmask 0 -listenNetwork tcp -listenAddr 127.0.0.1:8181 -authBackend http://127.0.0.1:8888" เปลี่ยนเป็น listen tcp และตั้งค่า http://127.0.0.1:8888 ให้ชี้ไปที่ port unicorn ของ gitlab
อีกส่วนคือ /home/git/gitlab-shell/config.yml ต้องแก้ไข ย้าย key ssh ไปที่ /var/opt/gitlab/.ssh/authorized_keys โดยอาจต้องเพิ่มลด key ใหม่ที่หน้าเว็บ
user: git gitlab_url: https://git.morange.co.th/ http_settings: self_signed_cert: false repos_path: "/home/git/repositories/" #auth_file: "/home/git/.ssh/authorized_keys" auth_file: "/var/opt/gitlab/.ssh/authorized_keys" redis: bin: "/usr/bin/redis-cli" namespace: resque:gitlab socket: "/var/run/redis/redis.sock" log_level: INFO audit_usernames: false
การอัปเกรดจาก 8.x เป็นเวอร์ชัน 9.x
จาก [4] เมื่อต้องอัปเกรด สิ่งที่ต้องแก้ไขคือ
- Update Ruby เป็น Ruby 2.3.x
mkdir /tmp/ruby && cd /tmp/ruby curl --remote-name --progress https://cache.ruby-lang.org/pub/ruby/2.3/ruby-2.3.3.tar.gz echo '1014ee699071aa2ddd501907d18cbe15399c997d ruby-2.3.3.tar.gz' | shasum -c - && tar xzf ruby-2.3.3.tar.gz cd ruby-2.3.3 ./configure --disable-install-rdoc make sudo make install sudo gem install bundler --no-ri --no-rdoc
- Update Node เป็น > 4.3.x และลง yarn
curl --location https://yarnpkg.com/install.sh | bash -
# แก้ config/gitlab.yml โดยอ้างอิงจากตัวใหม่
cd /home/git/gitlab # MySQL installations (note: the line below states '--without postgres') sudo -u git -H bundle install --without postgres development test --deployment # PostgreSQL installations (note: the line below states '--without mysql') sudo -u git -H bundle install --without mysql development test --deployment # Optional: clean up old gems sudo -u git -H bundle clean # Run database migrations sudo -u git -H bundle exec rake db:migrate RAILS_ENV=production # Update node dependencies and recompile assets sudo -u git -H bundle exec rake yarn:install gitlab:assets:clean gitlab:assets:compile RAILS_ENV=production NODE_ENV=production # Clean up cache sudo -u git -H bundle exec rake cache:clear RAILS_ENV=production
วิธีใช้งาน Gitlab เบื้องต้น
การสร้าง Project
1. ทำการสมัครสมาชิก เพื่อเข้าใช้งาน
2. เมื่อสมัครสมาชิกเสร็จแล้ว ก็ทำการล๊อคอินเข้าใช้งาน แล้วจะเจอหน้าแรกของการใช้งาน
3. สร้างโปรเจคสำหรับงานที่ต้องการทำ พยายามตั้งชื่อให้สอดคล้องกับงาน เพื่อง่ายต่อการค้นหา
4. การ git global setup
$ git config --global user.name "Name" $ git config --global user.email "Email"
5. สร้าง Repository ใหม่
$ git clone https://witawatd@git.morange.co.th/witawatd/myproject_coe.git $ cd <Name Project>
หรือถ้าเรามี Project อยู่แล้วให้ทำตามนี้เลย
$ cd <ตำแหน่ง folder> $ git init $ git remote add origin <http ลิงค์ของโปรเจค> $ git add . $ git commit -m "ใส่ข้อความแจ้งเตื่อน" $ git push -u origin <branch name>
การ clone Repository มาใช้งาน
สมมุติว่าเราเปลียนคอมเครื่องอื่นหรื้อเราทำงานร่วมกับคนอื่น เราสามารถทำการ clone Repository มาใช้งานได้
มันจะคล้ายการ add Repository นะครับ
$ cd <ตำแหน่ง folder ที่ต้องการจะเก็บไว้> $ git clone https://witawatd@git.morange.co.th/witawatd/myproject_coe.git
การ Push เข้าไปยัง gitlab
$ git add <name file> $ git commit -m "ข้อความ" $ git push origin <branch name>
การสร้าง branch แล้ว push ไปยัง gitlab
$ git branch <branch Name> $ git checkout <branch Name> $ git push <ชื่อ remote> <ชื่อ branch> แล้วใส่รหัสผ่าน
การ pull [fetch + merge] เข้าไปใน gitlab
ก่อนทำการ pull ต้องทำการ commit เข้าไปยัง branch ก่อนแล้ว Push เข้าไปยัง remote จากนั้นทำการ checkout ออกไปยัง master ตามด้วยคำสั่งนี้เลย
$ git pull <ชื่อ remote> <ชื่อ branch> แล้วใส่รหัสผ่าน
คำสั่งนี้เป็นการเช็คว่า ใน Repository มีโค้ดตรงกันกับ remote หรือไม่